SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
รู ป แบบการเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คม (Model of
Learning by Social Media)


หลั ก การและเหตุ ผ ล
       ในปัจจุบันการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ เกิดขึ้นจากพื้น
ฐานความเชื่อที่ว่า การจัดการศึกษามีเป้าหมายสำาคัญที่สุด คือ การจัดการให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนแต่ละคนได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ตามกำาลังหรือศักยภาพของแต่ละคน แต่เนื่องจากผู้เรียนแต่ละคนมีความ
แตกต่างกันทั้งด้านความต้องการ ความสนใจ ความถนัด และยังมีทักษะพื้น
ฐานอันเป็นเครื่องมือสำาคัญที่จะใช้ในการเรียนรู้ อันได้แก่ ความสามารถใน
การฟัง พูด อ่าน เขียน ความสามารถทางสมอง ระดับสติปัญญา และการ
แสดงผลของการเรียนรู้ออกมาในลักษณะที่ต่างกัน จึงควรมีการจัดการที่
เหมาะสมในลักษณะที่แตกต่างกัน ตามเหตุปัจจัยของผู้เรียนแต่ละคน และผู้
ที่มีบทบาทสำาคัญในกลไกของการจัดการนี้คือ ผูสอน ทั้งนี้ จากข้อมูลอันเป็น
                                                   ้
ปัญหาวิกฤตทางการศึกษา และวิกฤตของผู้เรียนที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่า ผู้
สอนยังแสดงบทบาทและทำาหน้าที่ของตนเองไม่เหมาะสม จึงต้องทบทวน
ทำาความเข้าใจ ซึ่งนำาไปสู่การปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤตทางการศึกษา
และวิกฤตของผู้เรียน 1
        การเรียนรู้อย่างเสรี เปิดโอกาสและประสบการณ์ที่ผู้สอนผลักดันให้ผู้
เรียนได้พัฒนาความสามารถและความคิดอย่างอิสระ บนพื้นฐานความสนใจ
และการเรียนรู้ด้วยตนเองการเรียนรู้อย่างเสรี เกี่ยวข้องระหว่างผู้สอนและผู้
เรียน ซึ่งผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้เอื้ออำานวย และแสดงให้ผู้เรียนเห็นวิธีการเรียนรู้
อย่างเสรี เช่น ผู้สอน สามารถจูงใจให้ผู้เรียนได้เข้าใจระบบและมีความสนใจ
เนื้อหาพร้อมทั้งติดตาม ตรวจสอบข้อผิดพลาด โดยตอบสนองและสนับสนุนให้
ผู้เรียนได้พยายามต่อไป 2
      จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผูเข้าอบรมหลักสูตร miniMIS 5 กลุ่ม 4 จึง
                                ้
ขอนำาเสนอแนวทางการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะด้าน Social
media & Social network มาจัดทำารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม
(Model of Learning By Social Media)
วั ต ถุ ป ระสงค์
1
    การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ Child Center โดย ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร.นวลจิตต์ เชา
                                                                  ้
วกีรติพงศ์ ,ดร.เบญจลักษณ์ นำ้าฟ้า และนางชัดเจน ไทยแท้

2
 Sivaraman,J.2008. Self-learning is self-reliance in CDTL Brief. 11,1
(January): 9-10
1.   เพื่อศึกษาความต้องการเกี่ยวกับการเรียนรู้โดยเครือข่ายสังคมและ
        ข้อมูลประกอบการสร้างรูปแบบการเรียนโดยใช้เครือข่ายสังคม
   2. เพื่อสร้างรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม
   3.   เพื่อทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม
   4. เพื่อประเมินรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม
ขอบเขตการวิ จ ั ย
    ขั ้ น ตอนที ่ 1 ศึ ก ษาความต้ อ งการเกี ่ ย วกั บ การเรี ย นรู ้ โ ดยเครื อ
ข่ า ยสั ง คมและข้ อ มู ล ประกอบการสร้ า งรู ป แบบการเรี ย นโดยใช้
เครื อ ข่ า ยสั ง คม
        1. ขอบเขตด้านเนื้อหา
          ศึกษาความต้องการเกี่ยวกับการเรียนรู้โดยเครือข่ายสังคม ตาม
          ทัศนะของผู้เรียนและผู้สอนในระดับมัธยมศึกษา
        2. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
          ประชากร ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศประเทศจำานวน
          3,901 แห่ง
          กลุ่มตัวอย่าง โรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศ จำานวน 341 แห่ง ซึ่ง
          เป็นไปตามการกำาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามตารางของ
          R.V.Krejcie & D.W.Morgan ใช้วิธีสุ่มอย่างง่ายแล้ให้ครูและ
          นักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา เป็นผู้ให้ข้อมูลสองฝ่าย ฝ่ายละ
          หนึ่งคน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 682 ข้อมูล
        3. ขอบเขตด้านตัวแปร
          ความต้องการเกี่ยวกับ การเรียนรู้โดยเครือข่ายสังคมตามทัศนะของ
          ผู้เรียนและผู้สอนในระดับมัธยมศึกษา และข้อมูลประกอบการสร้าง
          รูปแบบ การเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม
ขั ้ น ตอนที ่ 2 สร้ า งรู ป แบบการเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คม
   1. ขอบเขตด้านเนื้อหา
        การยกร่างรูปแบบการเรียนรู้โดยเครือข่ายสังคม ที่เกิดจากการนำา
        ข้อมูลการสังเคราะห์รูปแบบที่ได้จากการศึกาเอกสารและงานสิจัยที่
        เกี่ยวข้องมาวิเราะห์เปรียบเทียบกับผลสรุปของการศึกษาความ
        ต้องการเกี่ยวกับการเรียนรู้โดยเครือข่ายสังคม และข้อมูลประกอบการ
สร้างรูปแบบการเรียนรู้โดยเครือข่ายสังคม ในขั้นตอนที่ 1 มา
      สังเคราะห์และยกร่างรูปแบบ และจัดทำาคู่มือการเรียนรู้โดยเครือข่าย
      สังคม โดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความสอดคล้องของคู่มือโดยวิธี
      การสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship)
   2. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
      กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการตรวจสอบร่างรูปแบบ ประกอบด้วยผู้ทรง
      คุณวุฒิ ที่ได้จากการเลือกแบบเจาะจง จำานวน 5 คน
   3. ขอบเขตด้านตัวแปร
         1. ความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม
         2. ความเป็นไปได้ของร่างรูปแบบ
         3. ความสอดคล้องของคู่มือการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม




ขั ้ น ตอนที ่ 3 ทดลองใช้ ร ู ป แบบการเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คม
   1. ขอบเขตด้านเนื้อหา
      คือ การนำารูปแบบที่ผ่านการยกร่าง ตรวจสอบความเป็นได้และความ
      เหมาะสมและคู่มือการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคมที่ผ่านการตรวจ
      สอบความสอดคล้องและปรับปรุงตามข้อเสนอแน่ะของผู้ทรงคุณวุฒิ
      ในขั้นตอนที่ 2 เรียนร้อยแล้วนำาไปใช้ในสถานการณ์จริง (โรงเรียน
      มัธยมศึกษา)
   2. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
      กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่าย
      สังคม จะพิจารณาเลือกโรงเรียนมัธยมศึกษา ที่มีผลงานการจัดการ
      ศึกษาดีเด่นในระดับประเทศ และมีความพร้อมด้านเทคโนโลยี
      สารสนเทศ
   3. ขอบเขตด้านตัวแปร
      ตัวแปรที่ศึกษา ได้แก่
1 . ผลการทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม
                2. ความพึงพอใจที่มีต่อกระบวนการการเรียนรู้โดยใช้เครือข่าย
        สังคม
                3. ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง
ขั ้ น ตอนที ่ 4 ประเมิ น รู ป แบบการเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คม
   1. ขอบเขตด้านเนื้อหา
        เป็นการประเมินรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม หลังบจากนำา
        ไปทดลองในสถานการณ์จริง (โรงเรียนมัธยมศึกษา) โดยผู้มีส่วน
        เกี่ยวข้อง
   2.   ขอบเขตด้านกลุ่มตัวอย่าง
        กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่าย
        สังคม ประเมินความพึงพอใจต่อกระบวนการ และประเมินความพึง
        พอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง จะใช้วิธีการสนทนากลุ่ม (Focus group
        Discussion) ประกอบด้วยบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้โดยใช้เครือ
        ข่ายสังคม
   3. ขอบเขตด้านตัวแปร
        การประเมินรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม ตัวแปรที่ศึกษา
        ได้แก่ ความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคมและ
        ความเป็นไปได้




ประโยชน์ ท ี ่ ค าดว่ า จะได้ ร ั บ
      ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้ จะนำามาสู่การได้มาซึ่งรูปแบบการเรียนรู้โดย
ใช้เครือข่ายสังคม ที่ผ่านการพัฒนาอย่างเป็นระบบและเป็นทางเลือกหนึ่งที่
สำาคัญสำาหรับนำามาใช้เป็นแนวทางในการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม ของ
โรงเรียนมัธยมศึกษา ให้กับหน่วยงาน/บุคคลที่กี่ยวข้องอย่างชัดเจน และ
เป็นรูปธรรม นอกจากนี้ การเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม จะก่อให้เกิด
ประโยชน์ต่อการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะ และความเชี่ยวชาญ
ของครูและนักเรียน ให้มีความพร้อมในการพัฒนาในนระดับที่สูงขึ้นต่อไป




 ทฤษฏีการเรียนรู้ของ
 บูม (Bloom
 Taxonomy)                                    รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้
                                              เครือข่ายสังคม
 หลักและทฤษฏีเกี่ยวกับ
 การจูงใจ (Principle                           โครงสร้างคณะกรรมการ
 and Motivation                                  การเรียนรู้โดยใช้เครือ
 theory)
                         การพัฒนารูปแบบ          ข่ายสังคม

 ทฤษฏีการจูงใจขอ            การเรียนรู้        วัตถุประสงค์
                          โดยใช้เครือข่าย
 แนวคิดเกี่ยว Social                           บทบาทของผูที่มีส่วน
                                                            ้
                                                 เกี่ยวข้อง
 Media
                                               หลักสูตรการเรียนรู้โดย
 สภาพความต้องการ
กรอบแนวคิ ด ของการวิ จ ั ย
 เกี่ยวกับการเกี่ยวกับ
                                                 ใช้เครือข่ายสังคม

 การเรียนรู้โดยเครือ                           กระบวนการเรียนรู้โดย
  แนวคิดการพัฒนา                                 ใช้เครือข่ายสังคม
  ทรัพยากรบุคคล
  ทางการศึกษา
  (Human resource
  management in

 แนวคิดการพัฒนารูป
 แบบ
ขั ้ น ตอนที ่ 1 ศึกษา        ศึกษาความต้องการเกี่ยว       ความต้องการรูปแบบ
  ความต้องการเกี่ยวกับ            กับการเรียนรู้โดยเครือ     การเรียนรู้โดยใช้เครือ
  การเรียนรู้โดยเครือ             ข่ายสังคม ตามทัศนะของ
                                                             ข่ายสังคมของโรงเรียน
  ข่ายสังคมและข้อมูล              ผู้เรียนและผู้สอนในระดับ
                                  มัธยมศึกษา                 มัธยาศึกษา
  ประกอบการสร้างรูป
  แบบการเรียนโดยใช้              สรุปเนือหา และสร้างเป็น
                                        ้
                                 แบบสอบถาม

                                 ตรวจสอบคุณภาพเครื่อง
  ขั ้ น ตอนที ่ 2 สร้างรูป      มือ
  แบบการเรียนรู้โดยใช้
  เครือข่ายสังคม                 เก็บข้อมูลกับกลุม
                                                 ่
                                 ตัวอย่างโรงเรียนจำานวน


                              นำาข้อมูลการสังเคราะห์         ได้รูปแบบการเรียนรู้
  ขั ้ น ตอนที ่ 3 ทดลอง
                              รูปแบบฯที่ได้จากการ            โดยใช้เครือข่ายสังคม
  ใช้รูปแบบการเรียนรู้
  โดยใช้เครือข่ายสังคม        ศึกษาเอกสารและงาน              ที่มีความเป็นไปได้และ
                              วิจยที่เกี่ยวข้งมา
                                   ั                         ความเหมาะสมจากข้อ
                              วิเคราะห์ร่วมกับผลสรุป         เสนอแน่ะของผูทรง
                                                                            ้
                              ของการศึกษาความ                คุณวุฒิ และได้คู่มือฯ ที่
     ขั ้ น ตอนที ่ 4 ประเมิน ต้องการเกี่ยวกับรูปแบบ         ผ่านการตรวจสอบ
     รูปแบบการเรียนรู้โดย     การเรียนรู้โดยเครือข่า
ขั ้ น ตอนการดำ า เนิ น การวิ จงย ในขันตอนที่ 1
     ใช้เครือข่ายสังคม        สั ั คม      ้
                              มายกร่างรูปแบบฯ และ
         ขั ้ น ตอน                   กิ จ กรรม                ผลที ่ ไ ด้ ร ั บ
                               นำาร่างรูปแบบฯ ที่ผานขั้น
                                                  ่          รูปแบบที่ผานการ
                                                                       ่
                               ตอนที่ 2 ไปทดลองใช้           ทดลองใช้



                               ประเมินความเหมาะสมและ         รูปแบบที่ผานการ
                                                                       ่
                               ความเป็นได้ของรูปแบบ          ประเมินผล
                               โดยการสนทนากลุ่มผู้มี
                               ส่วนเกี่ยวข้อง
Model of learning by social media

More Related Content

What's hot

บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์JeeraJaree Srithai
 
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาบันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาpanida428
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40Weerachat Martluplao
 
3 บทคัดย่อ
3 บทคัดย่อ3 บทคัดย่อ
3 บทคัดย่อKoiy Yuencheewit
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guidechickyshare
 
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7yuapawan
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7yuapawan
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7yuapawan
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตAon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7Meaw Sukee
 

What's hot (20)

บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
 
World class
World classWorld class
World class
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาบันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
3 บทคัดย่อ
3 บทคัดย่อ3 บทคัดย่อ
3 บทคัดย่อ
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guide
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
 
Utq 001
Utq 001Utq 001
Utq 001
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Pp social
Pp socialPp social
Pp social
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
Bp
BpBp
Bp
 

Similar to Model of learning by social media

The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social mediaKrit Chanthraphrom
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera Supa CPC
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติTee Lek
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3Ptato Ok
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Social media use in higher education
Social  media  use  in  higher educationSocial  media  use  in  higher education
Social media use in higher educationoajirapa
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 

Similar to Model of learning by social media (20)

The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
Social media use in higher education
Social  media  use  in  higher educationSocial  media  use  in  higher education
Social media use in higher education
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

Model of learning by social media

  • 1. รู ป แบบการเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คม (Model of Learning by Social Media) หลั ก การและเหตุ ผ ล ในปัจจุบันการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ เกิดขึ้นจากพื้น ฐานความเชื่อที่ว่า การจัดการศึกษามีเป้าหมายสำาคัญที่สุด คือ การจัดการให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนแต่ละคนได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ตามกำาลังหรือศักยภาพของแต่ละคน แต่เนื่องจากผู้เรียนแต่ละคนมีความ แตกต่างกันทั้งด้านความต้องการ ความสนใจ ความถนัด และยังมีทักษะพื้น ฐานอันเป็นเครื่องมือสำาคัญที่จะใช้ในการเรียนรู้ อันได้แก่ ความสามารถใน การฟัง พูด อ่าน เขียน ความสามารถทางสมอง ระดับสติปัญญา และการ แสดงผลของการเรียนรู้ออกมาในลักษณะที่ต่างกัน จึงควรมีการจัดการที่ เหมาะสมในลักษณะที่แตกต่างกัน ตามเหตุปัจจัยของผู้เรียนแต่ละคน และผู้ ที่มีบทบาทสำาคัญในกลไกของการจัดการนี้คือ ผูสอน ทั้งนี้ จากข้อมูลอันเป็น ้ ปัญหาวิกฤตทางการศึกษา และวิกฤตของผู้เรียนที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่า ผู้ สอนยังแสดงบทบาทและทำาหน้าที่ของตนเองไม่เหมาะสม จึงต้องทบทวน ทำาความเข้าใจ ซึ่งนำาไปสู่การปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤตทางการศึกษา และวิกฤตของผู้เรียน 1 การเรียนรู้อย่างเสรี เปิดโอกาสและประสบการณ์ที่ผู้สอนผลักดันให้ผู้ เรียนได้พัฒนาความสามารถและความคิดอย่างอิสระ บนพื้นฐานความสนใจ และการเรียนรู้ด้วยตนเองการเรียนรู้อย่างเสรี เกี่ยวข้องระหว่างผู้สอนและผู้ เรียน ซึ่งผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้เอื้ออำานวย และแสดงให้ผู้เรียนเห็นวิธีการเรียนรู้ อย่างเสรี เช่น ผู้สอน สามารถจูงใจให้ผู้เรียนได้เข้าใจระบบและมีความสนใจ เนื้อหาพร้อมทั้งติดตาม ตรวจสอบข้อผิดพลาด โดยตอบสนองและสนับสนุนให้ ผู้เรียนได้พยายามต่อไป 2 จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผูเข้าอบรมหลักสูตร miniMIS 5 กลุ่ม 4 จึง ้ ขอนำาเสนอแนวทางการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะด้าน Social media & Social network มาจัดทำารูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม (Model of Learning By Social Media) วั ต ถุ ป ระสงค์ 1 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ Child Center โดย ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร.นวลจิตต์ เชา ้ วกีรติพงศ์ ,ดร.เบญจลักษณ์ นำ้าฟ้า และนางชัดเจน ไทยแท้ 2 Sivaraman,J.2008. Self-learning is self-reliance in CDTL Brief. 11,1 (January): 9-10
  • 2. 1. เพื่อศึกษาความต้องการเกี่ยวกับการเรียนรู้โดยเครือข่ายสังคมและ ข้อมูลประกอบการสร้างรูปแบบการเรียนโดยใช้เครือข่ายสังคม 2. เพื่อสร้างรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม 3. เพื่อทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม 4. เพื่อประเมินรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม ขอบเขตการวิ จ ั ย ขั ้ น ตอนที ่ 1 ศึ ก ษาความต้ อ งการเกี ่ ย วกั บ การเรี ย นรู ้ โ ดยเครื อ ข่ า ยสั ง คมและข้ อ มู ล ประกอบการสร้ า งรู ป แบบการเรี ย นโดยใช้ เครื อ ข่ า ยสั ง คม 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา ศึกษาความต้องการเกี่ยวกับการเรียนรู้โดยเครือข่ายสังคม ตาม ทัศนะของผู้เรียนและผู้สอนในระดับมัธยมศึกษา 2. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศประเทศจำานวน 3,901 แห่ง กลุ่มตัวอย่าง โรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศ จำานวน 341 แห่ง ซึ่ง เป็นไปตามการกำาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามตารางของ R.V.Krejcie & D.W.Morgan ใช้วิธีสุ่มอย่างง่ายแล้ให้ครูและ นักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา เป็นผู้ให้ข้อมูลสองฝ่าย ฝ่ายละ หนึ่งคน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 682 ข้อมูล 3. ขอบเขตด้านตัวแปร ความต้องการเกี่ยวกับ การเรียนรู้โดยเครือข่ายสังคมตามทัศนะของ ผู้เรียนและผู้สอนในระดับมัธยมศึกษา และข้อมูลประกอบการสร้าง รูปแบบ การเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม ขั ้ น ตอนที ่ 2 สร้ า งรู ป แบบการเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คม 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา การยกร่างรูปแบบการเรียนรู้โดยเครือข่ายสังคม ที่เกิดจากการนำา ข้อมูลการสังเคราะห์รูปแบบที่ได้จากการศึกาเอกสารและงานสิจัยที่ เกี่ยวข้องมาวิเราะห์เปรียบเทียบกับผลสรุปของการศึกษาความ ต้องการเกี่ยวกับการเรียนรู้โดยเครือข่ายสังคม และข้อมูลประกอบการ
  • 3. สร้างรูปแบบการเรียนรู้โดยเครือข่ายสังคม ในขั้นตอนที่ 1 มา สังเคราะห์และยกร่างรูปแบบ และจัดทำาคู่มือการเรียนรู้โดยเครือข่าย สังคม โดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความสอดคล้องของคู่มือโดยวิธี การสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) 2. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการตรวจสอบร่างรูปแบบ ประกอบด้วยผู้ทรง คุณวุฒิ ที่ได้จากการเลือกแบบเจาะจง จำานวน 5 คน 3. ขอบเขตด้านตัวแปร 1. ความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม 2. ความเป็นไปได้ของร่างรูปแบบ 3. ความสอดคล้องของคู่มือการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม ขั ้ น ตอนที ่ 3 ทดลองใช้ ร ู ป แบบการเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คม 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา คือ การนำารูปแบบที่ผ่านการยกร่าง ตรวจสอบความเป็นได้และความ เหมาะสมและคู่มือการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคมที่ผ่านการตรวจ สอบความสอดคล้องและปรับปรุงตามข้อเสนอแน่ะของผู้ทรงคุณวุฒิ ในขั้นตอนที่ 2 เรียนร้อยแล้วนำาไปใช้ในสถานการณ์จริง (โรงเรียน มัธยมศึกษา) 2. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่าย สังคม จะพิจารณาเลือกโรงเรียนมัธยมศึกษา ที่มีผลงานการจัดการ ศึกษาดีเด่นในระดับประเทศ และมีความพร้อมด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ 3. ขอบเขตด้านตัวแปร ตัวแปรที่ศึกษา ได้แก่
  • 4. 1 . ผลการทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม 2. ความพึงพอใจที่มีต่อกระบวนการการเรียนรู้โดยใช้เครือข่าย สังคม 3. ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง ขั ้ น ตอนที ่ 4 ประเมิ น รู ป แบบการเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ เ ครื อ ข่ า ยสั ง คม 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา เป็นการประเมินรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม หลังบจากนำา ไปทดลองในสถานการณ์จริง (โรงเรียนมัธยมศึกษา) โดยผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง 2. ขอบเขตด้านกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่าย สังคม ประเมินความพึงพอใจต่อกระบวนการ และประเมินความพึง พอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง จะใช้วิธีการสนทนากลุ่ม (Focus group Discussion) ประกอบด้วยบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้โดยใช้เครือ ข่ายสังคม 3. ขอบเขตด้านตัวแปร การประเมินรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม ตัวแปรที่ศึกษา ได้แก่ ความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคมและ ความเป็นไปได้ ประโยชน์ ท ี ่ ค าดว่ า จะได้ ร ั บ ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้ จะนำามาสู่การได้มาซึ่งรูปแบบการเรียนรู้โดย ใช้เครือข่ายสังคม ที่ผ่านการพัฒนาอย่างเป็นระบบและเป็นทางเลือกหนึ่งที่ สำาคัญสำาหรับนำามาใช้เป็นแนวทางในการเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม ของ โรงเรียนมัธยมศึกษา ให้กับหน่วยงาน/บุคคลที่กี่ยวข้องอย่างชัดเจน และ เป็นรูปธรรม นอกจากนี้ การเรียนรู้โดยใช้เครือข่ายสังคม จะก่อให้เกิด
  • 5. ประโยชน์ต่อการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะ และความเชี่ยวชาญ ของครูและนักเรียน ให้มีความพร้อมในการพัฒนาในนระดับที่สูงขึ้นต่อไป ทฤษฏีการเรียนรู้ของ บูม (Bloom Taxonomy) รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ เครือข่ายสังคม หลักและทฤษฏีเกี่ยวกับ การจูงใจ (Principle โครงสร้างคณะกรรมการ and Motivation การเรียนรู้โดยใช้เครือ theory) การพัฒนารูปแบบ ข่ายสังคม ทฤษฏีการจูงใจขอ การเรียนรู้ วัตถุประสงค์ โดยใช้เครือข่าย แนวคิดเกี่ยว Social บทบาทของผูที่มีส่วน ้ เกี่ยวข้อง Media หลักสูตรการเรียนรู้โดย สภาพความต้องการ กรอบแนวคิ ด ของการวิ จ ั ย เกี่ยวกับการเกี่ยวกับ ใช้เครือข่ายสังคม การเรียนรู้โดยเครือ กระบวนการเรียนรู้โดย แนวคิดการพัฒนา ใช้เครือข่ายสังคม ทรัพยากรบุคคล ทางการศึกษา (Human resource management in แนวคิดการพัฒนารูป แบบ
  • 6. ขั ้ น ตอนที ่ 1 ศึกษา ศึกษาความต้องการเกี่ยว ความต้องการรูปแบบ ความต้องการเกี่ยวกับ กับการเรียนรู้โดยเครือ การเรียนรู้โดยใช้เครือ การเรียนรู้โดยเครือ ข่ายสังคม ตามทัศนะของ ข่ายสังคมของโรงเรียน ข่ายสังคมและข้อมูล ผู้เรียนและผู้สอนในระดับ มัธยมศึกษา มัธยาศึกษา ประกอบการสร้างรูป แบบการเรียนโดยใช้ สรุปเนือหา และสร้างเป็น ้ แบบสอบถาม ตรวจสอบคุณภาพเครื่อง ขั ้ น ตอนที ่ 2 สร้างรูป มือ แบบการเรียนรู้โดยใช้ เครือข่ายสังคม เก็บข้อมูลกับกลุม ่ ตัวอย่างโรงเรียนจำานวน นำาข้อมูลการสังเคราะห์ ได้รูปแบบการเรียนรู้ ขั ้ น ตอนที ่ 3 ทดลอง รูปแบบฯที่ได้จากการ โดยใช้เครือข่ายสังคม ใช้รูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้เครือข่ายสังคม ศึกษาเอกสารและงาน ที่มีความเป็นไปได้และ วิจยที่เกี่ยวข้งมา ั ความเหมาะสมจากข้อ วิเคราะห์ร่วมกับผลสรุป เสนอแน่ะของผูทรง ้ ของการศึกษาความ คุณวุฒิ และได้คู่มือฯ ที่ ขั ้ น ตอนที ่ 4 ประเมิน ต้องการเกี่ยวกับรูปแบบ ผ่านการตรวจสอบ รูปแบบการเรียนรู้โดย การเรียนรู้โดยเครือข่า ขั ้ น ตอนการดำ า เนิ น การวิ จงย ในขันตอนที่ 1 ใช้เครือข่ายสังคม สั ั คม ้ มายกร่างรูปแบบฯ และ ขั ้ น ตอน กิ จ กรรม ผลที ่ ไ ด้ ร ั บ นำาร่างรูปแบบฯ ที่ผานขั้น ่ รูปแบบที่ผานการ ่ ตอนที่ 2 ไปทดลองใช้ ทดลองใช้ ประเมินความเหมาะสมและ รูปแบบที่ผานการ ่ ความเป็นได้ของรูปแบบ ประเมินผล โดยการสนทนากลุ่มผู้มี ส่วนเกี่ยวข้อง